วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

Type3

ไทป์ทรี โปรแกรมออกแบบเขียนแบบฟ้อนต์ ของ CR8 Software Solutions
   สามารถใช้งาน ออกแบบ สร้าง ซ่อม เปลี่ยนแปลง(Convert) ฟ้อนต์ประเภท OpenType TrueType และ OpenType PostScript ได้   ใช้งานง่าย ที่สำคัญคือสามารถสร้างรูปอักขระ(Gyph)ได้มากถึง 65,535 ตัว มากกว่าซอฟต์แวร์ระดับโปรเชิงพาณิชย์บางตัวด้วยซ้ำ



ที่มา : thai.info

วันศุกร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

CRU-Font Program Computer Family : แบบอักษรและชุดตัวพิมพ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซีอาร์ยู




Font CRU-Chandrakasem : ฟ้อนต์ ซีอาร์ยู-จันทรเกษม
Font CRU-Rajabhat : ฟ้อนต์ราชภัฏ
Font CRU-LanChand : ฟ้อนต์ ซีอาร์ยู-ลานจันทร์
แนวคิดในการออกแบบตัวอักษรชุดตระกูลซีอาร์ยู (CRU-Fonts Design Concept)
ผลงานออกแบบอักษร(Typeface Design)และชุดตัวพิมพ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์(font computer program) เป็นผลงานวิจัยสร้างสรรค์(Creative Research)ที่เกิดจากงานวิจัยเรื่อง การออกแบบกราฟิกเอกลักษณ์สำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ปี 2553  โดยที่ผู้ออกแบบ วิจัย สร้างสรรค์ ต้องการให้เป็นชุดตัวอักษรที่ออกแบบและพัฒนาขึ้นตามโครงสร้างมาตรฐานตัวอักษรไทย ได้กลมกลืนกับแบบตราสัญลักษณ์ของราชภัฏเดิม และมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมปัจจุบัน ที่สื่อให้เห็นถึงเอกลักษณ์ ที่มาของความเป็นสถาบันราชภัฏและความเชื่อมโยงกันของมหาวิทยาลัยกลุ่มของราชภัฏ สามารถนำไปใช้ร่วมติดตั้งใช้ได้กับระบบคอมพิวเตอร์ โดยออกแบบพัฒนาให้นำไปใช้เป็นอักษรแบบตกแต่ง(Display Typeface)และตัวเรียงพิมพ์ข้อความ(Text Typoeface) เนื้อหาเอกสารตำรา ในสื่อหรืองานสิ่งพิมพ์ เป็นส่วนประกอบร่วมในงานทัศนสื่อสาร เพื่อเสริมสร้างเอกลักษณ์มาตรฐานเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ และหรือเพือภาระงานทัศนสื่อสารด้านการศึกษาและการแบ่งปันความรู้และพัฒนาสืบเนื่องตามเงื่อนไขสัญญาอนุญาตใช้  อันประกอบด้วยแบบอักษรและชุดตัวพิมพ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 ชุดได้แก่ 1.ซีอาร์ยู-จันทรเกษม CRU-Chandrakasem version 1.0  2.ซีอาร์ยู-ราชภัฏ CRU-Rajabhat version 1.0 และ 3.ซีอาร์ยู-ลานจันทร์  CRU-LanChand version 1.0
เจ้าของลิขสิทธิ์ผลงาน ผศ.ประชิด ทิณบุตร และสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประเภทงานลิขสิทธิ์ ผลงานทางวรรณกรรม(คอมพิวเตอร์)
ที่มา: http://thaifont.info/?p=279





วันจันทร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

Typography หมายความว่าอย่างไร


 30/9/2554

 ความหมายภาษาไทยของคำว่า Typography ยังไม่มีการบัญญัติศัพท์คำไทย โดยราชบัณฑิตยสถาน  ไว้โดยตรง  ส่วนใหญ่ใช้คำว่า การพิมพ์  Kyrnin,Jenifer,2011 ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับ Typograpy เอาไว้ว่า 
คือการออกแบบและการใช้งานตัวอักษรเพื่อการสื่อสาร านับแต่ที่กูเตนเบิร์กได้เริ่มใช้ในงานการพิมพ์ในระบบเลตเตอร์เพรสมาก่อน แต่งานไทโพกราฟี่นั้น มีรากฐานการพัฒนามาจากงานเขียนตัวอักษรแบบคัดลายมือเป็นรูปอักขระความหมายจึงมีความครอบคลุม ไปจนถึงงานการพิมพ์ด้วยระบบดิจิตัลในหน้าเว็บไซต์ ไปถึงภาระงานของนักออกแบบที่เป็นผู้ออกแบบสร้างสรรค์ตัวอักษร การจัดตัวอักษรทุกรูปแบบทุกส่วนที่เกี่ยวข้องในงานที่ออกแบบด้วย
     Typography จึงเป็นการจัดวางแบบตัวพิมพ์(Typefaces)ให้เหมาะสมกับพื้นที่และองค์ประกอบทางการพิมพ์ที่ใช้ในงานออกแบบทั้งหมดนั่นเอง(Kyrnin,Jenifer,2011)

อ้างอิงมาจาก: http://typefacesdesign.blogspot.com/2011/09/typography.html

วันพุธที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

weekly news report


ข่าวที่1  : Train set typography by Bureau Bruneau 
ที่มาของข่าว :  http://bureaubruneau.com/pro_traintype.html

บทความที่คัดลอกมา :  http://typography-daily.com/2012/09/05/train-set-typography-by-bureau-bruneau/


Train set typography by Bureau Bruneau

A cool typographic experiment using train sets, by Bureau Bruneau.



แปลโดยใช้ Gtranslate แล้วเรียบเรียงเป็นสำเนาตัวเอง

ทดลองใช้รถไฟในการออกแบบ typographic เจ๋งๆโดยใช้ชุดรถไฟในการออกแบบโดย Bureau Bruneau


Typography ชุดรถไฟ
เริ่มทดลองตัวอักษรด้วยตัวเองฉันใช้ แนวคิดมาจาก ชุดรถไฟเก่าพบในห้องใต้ดินยายของฉันเป็นพื้นฐานสำหรับการสร้างตัวอักษร 





ตัวอักษร ชุดรถไฟ




 






ข่าวที่2 : Font inspired in the plastic industry.

ที่มาของข่าว : http://www.behance.net/gallery/PLSTK-Free-Font/3010257 

PLSTK is distributed under a Creative Commons License and you can use it for commercial and non commercial projects. If you do, would be great if you can send me an image.
Enjoy it!


ตัวอักษรที่เกิดจากแรงบันดานใจในอุตสาหกรรมพลาสติก

แปลโดยใช้ Gtranslate แล้วเรียบเรียงเป็นสำเนาตัวเอง 

PLSTK ได้เผยแพร่แบบอักษรภายใต้ใบอนุญาต ของครีเอทีฟคอมมอน คุณสามารถใช้แบบอักษร
เพื่อโครงการพาณิชการค้าและที่ไม่ใช่ ขอให้คุณสนุกกับมัน


























ข่าวที่3 : Matilde Font

ที่มาของข่าว : http://www.typedepot.com/matilde



Matilde is friendly thin typeface with extra tall capitals, elegant look combined with decorative elements. This typeface will work well for headings, short paragraphs, magazines, children’s books, posters, logos and any type of graphic design.
Available in two styles – normal and sketch. Inside the font you’ll find great collection of decorative frames and patterns.



แปลโดยใช้ Gtranslate แล้วเรียบเรียงเป็นสำเนาตัวเอง 
มาทิล เป็นแบบอักษรที่บาง สูง ดูสง่างาม องค์ประกอบของแบบอักษร นำไปใช้ได้ดีสำหรับวรรณคดี นิตยสารเด็ก หนังสือโปสเตอร์ โลโก้ และ ประเภทของการออกแบบกราฟิกต่างๆ